popup Archives - ICPLADDA

 

 

บริษัท ไอ ซี พี ลัดดา
เป็นบริษัท ชั้นนำในด้านธุรกิจเคมีเกษตร ดำเนินธุรกิจนาน 50 ปี ดำเนินการผลิต นำเข้า และจัดจำหน่ายสารเคมีป้องกันศัตรูพืช ปุ๋ยเคมี และฮอร์โมนสำหรับพืช ฯลฯ ทางบริษัทให้ความสำคัญอย่างยิ่งต่อเนื่องเสมอมาในการควบคุมคุณภาพของผลิตภัณท์ และใส่ใจในการรักษาสิ่งแวดล้อม ดังจะเห็นได้ว่าเราได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ISO 9001 : 2008 และระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO 14001 : 2004 จาก BVQI ภายใต้สถาบันรับรองคุณภาพ UKAS ประเทศอังกฤษ นอกจากนี้ บริษัทยังได้รับการรับรอง GMP จากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข

กลุ่มผลิตภัณฑ์
 
     
 
       

บทความที่น่าสนใจ

ไม่ได้มีแค่คนที่ “เมา” ได้ แต่ “ข้าว” ก็ “เมา” ได้เช่นกัน

อาการข้าว เมาตอซัง (Akiochi) เป็นผลมาจากการย่อยสลายของตอซังที่ไม่สมบูรณ์เมื่อทำการปลูกข้าวลงไปในพื้นที่นั้น ทำให้ได้รับผลกระทบจากกิจกรรมของจุลินทรีย์ดินที่ใช้ธาตุไนโตรเจนในดินในการย่อยสลายตอซัง ปลดปล่อยกรดอินทรีย์ ก๊าซต่างๆ และความร้อน
โรคกิ่งแห้งทุเรียน

โรคกิ่งแห้งของทุเรียน ระวังไว้ก่อนต้นโทรม

ปัจจุบันทุเรียนเป็นไม้ผลที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจของประเทศไทย แต่ในการเพาะปลูกเกษตรกรมักประสบปัญหาการเข้าทำลายของโรคต่างๆ ซึ่งนอกเหนือจากโรครากเน่าโคนเน่าแล้ว ยังมีโรคกิ่งแห้งที่พบเข้าทำลายทุเรียนในหลายพื้นที่เพาะปลูก โดยทำให้ต้นทุเรียนที่เป็นโรคมีอาการกิ่งแห้ง
ผลกระทบของสภาพอากาศที่มีอุณหภูมิสูงต่อข้าว

ผลกระทบของสภาพอากาศที่มีอุณหภูมิสูงต่อข้าว

ปัจจุบันเรากำลังประสบปัญหาโลกร้อน ที่ทำให้สภาพอากาศมีอุณหภูมิเฉลี่ยสูงขึ้นกว่าปกติจากเดิม ซึ่งทำให้ฤดูร้อนมีสภาพอากาศที่ร้อนยิ่งขึ้นร่วมกับฤดูกาลที่มีสภาพแล้งฝนทิ้งช่วงจะมีผลกระทบอย่างมากต่อการปลูกข้าวที่อุณหภูมิตั้งแต่ 35°C จะเป็นช่วงวิกฤตของข้าวในระยะเจริญพันธุ์ (Reproductive Stage)
ข้อแนะนำในการใช้โดรนเพื่อการเกษตรในการพ่นสารป้องกันกำจัดศัตรูพืช

ข้อแนะนำในการใช้โดรนเพื่อการเกษตรในการพ่นสารป้องกันกำจัดศัตรูพืช

ข้อแนะนำในการใช้โดรนเพื่อการเกษตรในการพ่นสารป้องกันกำจัดศัตรูพืช
การใช้สารเคมีควบคุมเชื้อ ฟิวซาเรี่ยม (Fusarium sp.)

จะเป็นอย่างไรเมื่อมีการใช้สารเคมีควบคุมเชื้อ ฟิวซาเรี่ยม สาเหตุโรคกิ่งแห้งในทุเรียน จะเอาอยู่หรือไม่

โรคกิ่งแห้งที่เกิดจากเชื้อ Fusarium sp. เชื้อจะทำให้เกิดอาการกิ่งแห้ง ทำกิ่งเปราะ หักง่าย หรือยอดแห้งตาย ใบเหลืองหลุดร่วง
สารสีฟ้าในต้นหอมอัตรายหรือไม่

แท้จริงแล้ว สารสีฟ้าในต้นหอมอันตรายหรือไม่?

จากกรณีพบคราบสารป้องกันกำจัดโรคในต้นหอมที่เป็นข่าว พบว่
เทคนิคการใช้สารป้องกันกำจัดโรคพืช

เทคนิคการใช้สารป้องกันกำจัดโรคพืช

หลักในการจัดการโรคพืชนั้นสามารถทำได้หลายวิธีการ ได้แก่ การกีดกัน (avoidance) การหลีกเลี่ยง (exclusion) การกำจัด (eradication) การป้องกัน (protection) การใช้พันธุ์ต้านทาน (resistance) และการรักษา (therapy)
เทคนิคการใช้สารชีวภัณฑ์ให้มีประสิทธิภาพ

เทคนิคการใช้สารชีวภัณฑ์ให้มีประสิทธิภาพ

การลดปริมาณประชากรเชื้อโรคพืชหรือลดกิจกรรมของเชื้อที่ก่อโรคพืชให้อยู่ในระดับที่ไม่ทำให้เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจกับพืชที่ปลูกโดยอาศัยสิ่งมีชีวิตหรือจุลินทรีย์ต่างๆ รวมถึงผลผลิตที่ได้จากสิ่งมีชีวิตหรือจุลินทรีย์ต่างๆ
””

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า