ความรู้ที่น่าสนใจ
ผลกระทบของสภาพอากาศที่มีอุณหภูมิสูงต่อข้าว
ปัจจุบันเรากำลังประสบปัญหาโลกร้อน ที่ทำให้สภาพอากาศมีอุณหภูมิเฉลี่ยสูงขึ้นกว่าปกติจากเดิม ซึ่งทำให้ฤดูร้อนมีสภาพอากาศที่ร้อนยิ่งขึ้นร่วมกับฤดูกาลที่มีสภาพแล้งฝนทิ้งช่วงจะมีผลกระทบอย่างมากต่อการปลูกข้าวที่อุณหภูมิตั้งแต่ 35°C จะเป็นช่วงวิกฤตของข้าวในระยะเจริญพันธุ์ (Reproductive Stage) ...
ข้อแนะนำในการใช้โดรนเพื่อการเกษตรในการพ่นสารป้องกันกำจัดศัตรูพืช
ข้อแนะนำในการใช้โดรนเพื่อการเกษตรในการพ่นสารป้องกันกำจัดศัตรูพืช ...
จะเป็นอย่างไรเมื่อมีการใช้สารเคมีควบคุมเชื้อ ฟิวซาเรี่ยม สาเหตุโรคกิ่งแห้งในทุเรียน จะเอาอยู่หรือไม่
โรคกิ่งแห้งที่เกิดจากเชื้อ Fusarium sp. เชื้อจะทำให้เกิดอาการกิ่งแห้ง ทำกิ่งเปราะ หักง่าย หรือยอดแห้งตาย ใบเหลืองหลุดร่วง ...
แท้จริงแล้ว สารสีฟ้าในต้นหอมอันตรายหรือไม่?
จากกรณีพบคราบสารป้องกันกำจัดโรคในต้นหอมที่เป็นข่าว พบว่ ...
เทคนิคการใช้สารป้องกันกำจัดโรคพืช
หลักในการจัดการโรคพืชนั้นสามารถทำได้หลายวิธีการ ได้แก่ การกีดกัน (avoidance) การหลีกเลี่ยง (exclusion) การกำจัด (eradication) การป้องกัน (protection) การใช้พันธุ์ต้านทาน (resistance) และการรักษา (therapy) ...
เทคนิคการใช้สารชีวภัณฑ์ให้มีประสิทธิภาพ
การลดปริมาณประชากรเชื้อโรคพืชหรือลดกิจกรรมของเชื้อที่ก่อโรคพืชให้อยู่ในระดับที่ไม่ทำให้เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจกับพืชที่ปลูกโดยอาศัยสิ่งมีชีวิตหรือจุลินทรีย์ต่างๆ รวมถึงผลผลิตที่ได้จากสิ่งมีชีวิตหรือจุลินทรีย์ต่างๆ ...
7 โรคพืชผักที่เกิดเชื้อแบคทีเรีย
ฤดูฝนนี้เป็นฤดูกาลที่โรคพืชหลายชนิดแพร่ระบาดได้ดีโดยเฉพาะโรคพืชที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย เนื่องจากเชื้อแบคทีเรียส่วนใหญ่ชอบสภาพอากาศที่มีความชื้นสูง และน้ำฝนจะช่วยทำให้โรคแพร่กระจายได้ดี พืชผักจัดเป็นพืชอีกกลุ่มที่เป็นโรคที่เกิดเชื้อแบคทีเรียได้หลายชนิด ...
5 โรคพืชที่เกิดจากเชื้อไวรัส
เชื้อไวรัสจัดเป็นอีกหนึ่งสาเหตุของโรคพืชที่สำคัญนอกเหนือไปจากเชื้อรา เชื้อแบคทีเรีย หรือไส้เดือนฝอย ซึ่งปัจจุบันพบเป็นปัญหาในพืชเศรษฐกิจหลายชนิด โดยพืชที่เป็นโรคจากเชื้อไวรัสจะมีอาการต่างๆ ...
5 โรคข้าวที่ไม่ได้มีสาเหตุเกิดจากเชื้อรา
5 โรคข้าวที่ไม่ได้มีสาเหตุเกิดจากเชื้อรา โรคขอบใบแห้ง โรคใบขีดโปร่งแสง โรคใบหงิก (โรคจู๋) โรครากปม โรคเมาตอซัง ...
สารป้องกันกำจัดโรคพืชก็มี “ความเสี่ยง” ต่อการ “ดื้อยาของเชื้อรา” เหมือนกันนะ
สารป้องกันกำจัดโรคพืชก็มี “ความเสี่ยง” ต่อการ “ดื้อยาของเชื้อรา” เหมือนกันนะ หลายครั้งมักจะได้ข่าวว่า “แมลงดื้อยา” และ “วัชพืชดื้อยา” แต่น้อยครั้งที่จะได้ข่าว “เชื้อราดื้อยา” ...
โรคที่แพร่ระบาดไปกับดิน (Soil-borne disease)
โรคพืชที่แพร่ระบาดทางดินจัดเป็นโรคที่มีความสำคัญต่อการปลูกพืช ซึ่งสามารถทำให้เกิดความเสียหายกับพืชตั้งแต่ก่อนงอกหรือหลังจากพืชงอกแล้ว ...
ฮอร์โมนพืชคืออะไร?
ฮอร์โมนพืชเป็นสารอินทรีย์ที่มีความสำคัญยิ่งต่อกระบวนการเจริญเติบโตของพืช ทั้งการตอบสนองของพืชต่อสภาพแวดล้อมและปัจจัยภายนอก ...
4 โรคควรระวังหากปลูกพืชตระกูลแตง
4 โรคควรระวังหากปลูกพืชตระกูลแตง โรคราแป้งขาวแตงกวา (Powdery mildew) โรคราน้ำค้างแตงโม (Downy mildew) โรคใบด่างแตงกวา (Cucumber mosaic disease) โรครากปมบวบ (Root-knot disease) ...
ลักษณะเนื้อยาแต่ละสูตรของสารกำจัดศัตรูพืช
ลักษณะเนื้อยาแต่ละสูตรของสารกำจัดศัตรูพืช ...
ปลูกทุเรียนต้องเจอโรคเหล่านี้ เตรียมป้องกันไว้เลย
ปลูกทุเรียนต้องเจอโรคเหล่านี้ โรคราสีชมพู โรครากเน่าและโคนเน่าของทุเรียน โรคใบติดหรือใบไหม้หรือใบร่วง โรคกิ่งแห้ง โรคใบไหม้ โรคใบจุดสาหร่าย ...
ยาน็อคและยาดูดซึมคืออะไร
ยาน็อค และยาดูดซึม เคยใช้คำนี้ในการสอบถามร้านค้าเคมีเกษตร หรือร้านค้าเคมีเกษตรต้องเคยมีเกษตรกรมาสอบถามกันอย่างแน่นอน ไอซีพี ลัดดา ...
ปัญหาที่สวนลำไยไม่ควรมองข้าม !!
ระวัง สารพัดปัญหาที่สวนลำไยไม่ควรมองข้าม !!
ใบจุด ราดำ พุ่มไม้กวาด ไรกำมะหยี่ ...
หายสังสัย !! การคำนวณและเลือกสูตรผสมยาสำหรับโดรนเกษตร
ปัจจุบันเทคโนโลยีได้เข้ามามีบทบาทสำคัญในการเพาะปลูกพืชของเกษตรกรไทยอย่างมาก โดยเฉพาะโดรนที่กำลังเป็นที่นิยมในหลายพื้นที่ทั่วประเทศ ...
โรคในนาข้าว
ข้าวเป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของไทย สามารถสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรและประเทศไทยอย่างมาก แต่การปลูกข้าวไม่ได้ง่ายอย่างที่ใครหลายคนคิด เนื่องจากปัญหาวัชพืช โรค และแมลง ที่สร้างความเสียหายให้กับชาวนา โดยครั้งนี้จะพาไปรู้จักโรคข้าวที่พบประจำ จะมีโรคอะไรบ้าง และแต่ละโรคมีวิธีการแก้ไขอย่างไร มาหาคำตอบกันเลย ...
ข้อควรรู้ โดรนเพื่อการเกษตร
ข้อควรรู้ สำหรับเกษตรกรหรือผู้ให้บริการที่สนใจใช้โดรนเพื่อการเกษตร ...
เชื้อโรคที่ติดมากับเมล็ดพันธุ์
โรคเมล็ดพันธุ์จึงเป็นตัวการที่สำคัญที่ทำให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคไปได้อย่างกว้างขวางทั่วโลกตามการนำพันธุ์ไปเพาะปลูก ...
มารู้จักโรคพืชหลังการเก็บเกี่ยว
เชื้อสาเหตุโรคพืชสามารถเข้าทำลายพืชในทุกๆระยะ ตั้งแต่งอก เจริญเติบโตจนกระทั่งผลิดอก ออกผล หรือเมื่อทำการเก็บเกี่ยวผลผลิตไปแล้ว เชื้อสาเหตุโรคยังคงสามารถเข้าทำลายผลผลิตทำให้เสียหายได้ ...
วิธีการผสมสารกำจัดศัตรูพืชให้มีประสิทธิภาพสูงสุด
มาดูวิธีการผสมสารกำจัดศัตรูพืชให้มีประสิทธิภาพสูงสุดกัน
และมาหาคำตอบกันว่า
> ทำไม !! ต้องมีการผสมสารกำจัดศัตรูพืช ?
> ข้อควรรู้ !! ก่อนผสมสารกำจัดศัตรูพืช มีอะไรบ้าง ?
> ลำดับการผสมสารกำจัดศัตรูพืชควรเป้นอย่างไร ? ...
โดรนเกษตร เทคโนโลยีที่กำลังมาแรง ปี 2022
โดรนสำหรับการเกษตร ของไทยมีการพัฒนาไปอย่างมาก โดยเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทเพิ่มมากขึ้นในทุกกระบวนการ ตั้งแต่กระบวนผลิต เป็นหนึ่งในเทคโนโลยีที่ช่วยประหยัดเวลา ...
โรคแอนแทรคโนสมะม่วง
โรคแอนแทรคโนสมะม่วง เป็นโรคที่สำคัญที่สุดของมะม่วง ของประเทศไทย เชื้อราสามารถเข้าทำลายพืชได้ทุกระยะการเจริญของมะม่วงตลอดฤดูการปลูก ...
เทคนิคการใช้ธาตุอาหารเสริมเพื่อให้ ทุรียนออกดอกเร็วขึ้น
เมื่อมีการเก็บเกี่ยวผลผลิตทุเรียนเรียบร้อยแล้ว หลักการที่จะทำให้ทุเรียนออกดอกออกผลให้เร็วขึ้นในฤดูตอไป ก็คือจะต้องทำให้ใบอ่อนชุดใหม่ออกเร็วที่สุด และใบอ่อนจะต้องแกเร็วกว่าปกติ ...
โรคไส้กลวงของพืชตระกูลกะหล่ำ (Black heart of crucifer)
โรคไส้กลวงหรืออาการไส้กลวงที่พบในพืชตระกูลกะหล่ำ เช่น กะหล่ำปลี กะหล่ำดอก หรือ บล็อกโคลี่ เป็นต้น โดยที่พบและสังเกตุเห็นได้บ่อยๆ คือ บล็อกโคลี่ มีสาเหตุเกิดจากการขาดธาตุโบรอน ซึ่งเป็นธาตุอาหารพืชมีความจำเป็นต่อการเจริญเติบโต เป็นองค์ประกอบของผนังเซลล์ทำให้เซลล์มีความแข็งแรง ...
เมื่อพริกและมะเขือเทศ มีโรคและแมลงเข้าทำลาย ควรใช้กำจัดอย่างไร ?
พริกและมะเขือเทศ จัดเป็นพืชที่อยู่ในตระกูลโซลานาซีอี (Solanaceae) ถือว่าเป็นผักที่อยู่คู่กับเมนูในอาหารไทยได้อยากหลากหลาย ...
โรคราสนิมของไม้ดอกไม้ประดับ
ราสนิม (rust fungi) เป็นเชื้อราที่สร้างสปอร์เป็นกลุ่ม (pustules) มีสีคล้ายสนิม จึงเรียกว่า “ราสนิม” เป็นเชื้อราที่มีความสำคัญกลุ่มหนึ่ง สามารถเข้าทำลายพืชเศรษฐกิจและพืชต่างๆ ได้มากมาย ...
หมดปัญหาหนอนเจาะหอม
หนอนกระทู้หอมหรือหนอนหลอดหอม มันจะค่อยๆเข้าไปอาศัยและกัดกินเนื้อเยื่อใบหอม ทำให้ใบหอมแดงมีสีขาว จากนั้นก็จะกัดกินจากใบหอมลงไปถึงหัวหอม ทำให้เกิดความเสียหาย ...
โรคราเม็ดผักกาด
โรคจากเชื้อรา Sclerotium rolfsii
เป็นเชื้อราที่อาศัยอยู่ในดิน (soilborne) เป็นสาเหตุโรคเน่าระดับดิน (damping off) ของกล้าพืช โรคเหี่ยว (wilt) และโรครากเน่าและโคนเน่า (root and foot rot) ของพืช มีพืชอาศัยมากกว่า 500 ชนิด ...
สินค้าใหม่ไอซีพี ลัดดา
ไอซีพี ลัดดา ขอแนะนำสินค้าใหม่ที่จะมาแก้ปัญหาให้กับพี่น้องเกษตรกร จะมีสินค้าอะไรบ้างนั้น ไปดูกันเลย ...