การใช้สารชีวภัณฑ์ Archives - ICPLADDA

 

 

บริษัท ไอ ซี พี ลัดดา
เป็นบริษัท ชั้นนำในด้านธุรกิจเคมีเกษตร ดำเนินธุรกิจนาน 50 ปี ดำเนินการผลิต นำเข้า และจัดจำหน่ายสารเคมีป้องกันศัตรูพืช ปุ๋ยเคมี และฮอร์โมนสำหรับพืช ฯลฯ ทางบริษัทให้ความสำคัญอย่างยิ่งต่อเนื่องเสมอมาในการควบคุมคุณภาพของผลิตภัณท์ และใส่ใจในการรักษาสิ่งแวดล้อม ดังจะเห็นได้ว่าเราได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ISO 9001 : 2008 และระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO 14001 : 2004 จาก BVQI ภายใต้สถาบันรับรองคุณภาพ UKAS ประเทศอังกฤษ นอกจากนี้ บริษัทยังได้รับการรับรอง GMP จากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข

บทความที่น่าสนใจ

blog icpl nov 24

เช็กเลย! วิธีสังเกตอาการโรคในทุเรียน

โรคต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับทุเรียนพบเป็นปัญหาซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายให้กับเกษตรกรเป็นอย่างมาก ถ้าเกษตรกรไม่สามารถป้องกันกำจัดได้อย่างทันท่วงที ดังนั้นเกษตรกรต้องหมั่นสำรวจแปลงและสังเกตุอาการผิดปกติของต้นทุเรียน
cover-ไฟทอปธอร่า โรคที่ชาวสวนทุเรียนกลัว

ไฟทอปธอร่า โรคที่ชาวสวนทุเรียนกลัวมากกว่าผี!

ไฟทอปธอรา หรือ โรครากเน่าโคนเน่าของทุเรียนถือว่าเป็นโรคร้ายของทุเรียนที่เกษตรกรต้องระมัดระวัง เพราะโรคสามารถเข้าทำลายทุเรียนได้ทั้งก่อนและหลังการเก็บเกี่ยว ทำให้ผลผลิตเน่าเสียหาย และต้นทุเรียนตายได้

โรคที่โจมตีใบทุเรียน

เป็นที่ทราบกันดีว่าในการปลูกทุเรียนเกษตรกรจะพบโรคหลายชนิดที่จะเข้ามาทำลายส่วนต่าง ๆ ของทุเรียน ได้แก่ ที่ระบบราก โคน ลำต้น กิ่งก้าน ใบ ดอก หรือผล เป็นต้น ซึ่งในส่วนของใบทุเรียนนั้นจะพบว่าจะมีอาการของโรคต่าง ๆ หลายชนิด

ระบบราก สำคัญอย่างไรสำหรับทุเรียน ?

ในการปลูกทุเรียน เป็นที่ทราบกันดีว่าระบบรากนั้นมีความสำคัญที่จะต้องดูแลรักษาให้มีสุขภาพที่ดีและมีความแข็งแรง เพราะจะมีผลต่อผลผลิตทุเรียนโดยตรงแล้วยังมีผลต่อการเข้าทำลายของโรคอีกด้วย

โรคกิ่งแห้ง รุนแรงไม่แพ้ ไฟทอปธอรา..

โรคกิ่งแห้งของทุเรียนอีกโรคที่สำคัญไม่แพ้โรครากเน่าโคนเ
โรคไหม้-โรคกาบใบแห้ง

รู้แล้ว! หายสงสัย! โรคเน่าคอรวง (ไหม้) และโรคกาบใบแห้ง ต่างกันอย่างไร ?

โรคไหม้และโรคกาบใบแห้งของข้าวเป็นโรคที่มีความสำคัญ โดยในช่วงระยะที่ข้าวออกรวงเกษตรกรบางรายอาจแยกไม่ออกว่าข้าวเป็นโรคเน่าคอรวงของโรคไหม้หรือโรคกาบใบแห้ง
cover-เทคนิคเช็กโรคใบจุดสีน้ำตาล

เทคนิคเช็กโรคใบจุดสีน้ำตาลในช่วงข้าวเล็ก

ในช่วงสภาพอากาศร้อนนี้เกษตรกรอาจสังเกตุพบโรคใบจุดสีน้ำตาลเกิดขึ้นกับข้าวได้ตั้งแต่ระยะกล้า โดยเชื้อสาเหตุโรคใบจุดสีน้ำตาลจะทำให้เกิดโรคเมล็ดด่างในข้าวที่เป็นโรคตั้งแต่ระยะกล้าได้เร็วขึ้นหรือมีความรุนแรงมากขึ้น ส่งผลกระทบต่อผลผลิตข้าวเป็นอย่างมาก

หัวจะปวด!! ถ้าไม่รู้จัก เลือกใช้สารป้องกันกำจัด “โรคเมล็ดด่าง”

โรคเมล็ดด่าง หรือโรคเมล็ดลาย (Dirty panicle disease) ในนาข้าว มีสาเหตุเกิดจากเชื้อราหลายชนิด อาการจะพบในระยะออกรวง แผลเป็นจุดสีน้ำตาลหรือดำที่เมล็ดบนรวงข้าว บางส่วนก็มีลายสีน้ำตาลดำ และบางพวกมีสีเทาปนชมพู ทั้งนี้เพราะมีเชื้อราหลายชนิดที่สามารถเข้าทำลายและทำให้เกิดอาการต่างกันไป
””

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า